ประมวลภาพกิจกรรม สนง. คณะกรรมการฯ
เข้าร่วมงานออกบูส Thailand Halal Assembly ณ Bangkok Convent
วันอาทิตย์ที่ 28 ธันวาคม 2557
คอนเวนชั่นฮอลล์ ชั้น22 , บางกอกคอนเวนชั่นเซ็นเตอร์, เซ็นทรัลเวิลด์, กรุงเทพมหานคร
ภาคเช้า ณ เวทีกลาง
0800-0900 ลงทะเบียนผู้เข้าร่วมงาน
0900-0910 อัญเชิญพระมหาคัมภีร์อัลกุรอ่าน
0910-0920 พล.ต.ต.สุรินทร์ ปาลาเร่ เลขาธิการสำนักงานคณะกรรมการกลางอิสลามแห่งประเทศไทย กล่าวต้อนรับ
0920 0930 ประธานจัดงาน รศ.ดร.วินัย ดะห์ลัน ผู้ก่อตั้งและผู้อำนวยการศูนย์วิทยาศาสตร์ฮาลาล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กล่าวรายงาน
0930 0950
ประธานในพิธี ฯพณฯ อาศิส พิทักษ์คุมพล จุฬาราชมนตรี กล่าวเปิดงานและให้โอวาท
0950 1005 รับชมการแสดงขับร้อง อัน-นาชีด
1005 1020
-พิธีร่วมลงนาม MRA (Mutual Recognition Agreement) ระหว่างสถาบันมาตรฐานฮาลาลแห่งประเทศไทยกับองค์การมุสลิมโลก/องค์การมาตรฐานและมาตรวิทยาชาติอิสลามภายใต้ OIC (SMIIC)/องค์กรรับรองฮาลาล 20 ประเทศ
-พิธีร่วมลงนาม MOU กับสถาบันมาตรฐานฮาลาลแห่งประเทศไทย และศูนย์วิทยาศาสตร์ฮาลาล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ซึ่งเป็นผู้แทนหน่วยงาน ดังนี้ /มหาวิทยาลัยจากญี่ปุ่น/ธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย/มหาวิทยาลัย ราชภัฏสกลนคร, เกษตรศาสตร์ วิทยาเขตสกลนคร, มหาสารคาม มหาวิทยาลัยขอนแก่น/สมาคมเฟรนไชส์และไลเซนส์แห่งประเทศไทย และ Iamhalal.com
1005 1020 รับประทานอาหารว่าง
CBConvention
ห้องประชุมM 1-2 ชั้น 23
Halal Marketing Workshop
ห้องประชุมM 4 ชั้น 23
เสวนาวิชาการ
ห้องประชุมเวทีกลาง ชั้น 22
1020 - 1045
การพัฒนามาตรฐานฮาลาลของประเทศไทยโดย รศ.ดร.ปกรณ์ ปรียากร ผู้อำนวยการสถาบันมาตราฐาน ฮาลาลแห่งประเทศไทย
Dr.Jonathan A.J. (Bilal) Wilson ผู้เชี่ยวชาญด้านการสร้าง แบรนด์และการตลาดอิสลาม, อาจารย์อาวุโสและผู้นำหลักสูตรในการโฆษณาสร้าง แบรนด์และการสื่อสารการตลาด จากมหาวิทยาลัย Greenwich, London ประเทศอังกฤษ
บรรยายในหัวข้อเรื่อง
ทำไมต้องฮาลาล ?
การตระหนักรู้ในตราสินค้า
การพัฒนาตราสินค้า
แนวทางการสร้างตราสินค้าให้เป็นที่จดจำ
ผลิตภัณฑ์ฮาลาลกับโลกมุสลิมในปัจจุบัน
การขยายตัวของอุตสาหกรรมฮาลาลในรูปแบบใหม่
เรื่องน่ารู้สำหรับอุตสาหกรรมอาหาร, การรับรองฮาลาล, การส่งออกและนำเข้า
ความแตกต่างระหว่างความเป็นอิสลาม, มุสลิม, ฮาลาล และตรา ฮาลาล
การเสวนาในหัวข้อ
หลักสูตรอิสลามศึกษาเพื่อบูรณาการด้านวิทยาศาสตร์ฮาลาล ดำเนินรายการโดย อาจารย์สุชาติ สุวรรณดี
ผู้ร่วมเสวนาโดย
- ดร.บรรจง ไวทยเมธา
รองผู้อำนวยการศูนย์วิทยาศาสตร์ ฮาลาลจุฬาลงกรณ์
- ผศ.ดร.วุฒิศักด์ พิศสุวรรณ ผู้บริหารโรงเรียนประทีปศาสน์อิสมาอีลอนุสรณ์
- ดร.วิสุทธิ บินล่าเต๊ะ ผู้อำนวยการสำนักจุฬาราชมนตรี
- อ. อับดุลฮากีม วันแอเลาะ นักวิชาการอิสลาม
- ดร.อณัส อมาตยกุล อาจารย์ภาควิชามนุษย์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
- ดร.สุกรี หลังปูเต๊ะ คณบดีคณะศิลปะศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา
1045 - 1100
ผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรและมาตรฐานอาหารฮาลาลของประเทศไทย โดย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
1100 - 1200
มาตรฐานฮาลาลประเทศไทย โดย รศ.ดร.ปกรณ์ ปรียากร ผู้อำนวยการสถาบันมาตราฐาน ฮาลาลแห่งประเทศไทย
THS1435-1-2557: ขั้นตอนการขอเครื่องหมายฮาลาล
THS1435-2-2557: ขั้นตอนการเชือดให้ถูกต้องตามหลักศาสนบัญญัติ
THS1435-3-2557: คู่มือการขอการรับรองฮาลาล
THS1435-4-2557: ขั้นตอนการตรวจประเมินฮาลาล
THS1435-5-2557: ขั้นตอนการรับรองสินค้า
1200 - 1230 มาตรฐานฮาลาลไทยสำหรับโรงเชือดสัตว์ โดย กรมปศุสัตว์
1230 - 1330
พักรับประทานอาหารกลางวันและละหมาดดุหฺริ
ภาคบ่าย
CBConvention
ห้องประชุมM 1-2 ชั้น 23 Halal Marketing Workshop
ห้องประชุมM 4 ชั้น 23 เสวนาวิชาการ
ห้องประชุมเวทีกลาง ชั้น 22
1330 - 1420
ผู้บริหาร/ SMIIC Halal Standards by, Standards & Metrology Institute of Islamic Countries (SMIIC)
มาตรฐานฮาลาลสำหรับผู้ผลิต
มาตรฐานฮาลาลสำหรับหน่วยงานรับรอง
มาตรฐานฮาลาลสำหรับการได้รับการรับรอง
ช่วงถาม-ตอบ
การทำ Brandstorming, Storytelling และ Straplining
Consumer-based valuations and pricing
การจัดประชุมสัมมนาเรื่อง สถาบันการเงินฮาลาลในอิสลาม ดำเนินรายการโดย ดร.ทศพร มะหะหมัด อาจารย์ประจำศูนย์อิสลามศึกษา ผู้ร่วมเสวนาโดย
-กรรมการผู้จัดการธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย
- นายมนตรี มุขตารี สหกรณ์อิสลามสันติชน
- ดร.อณัส อมาตยกุล อาจารย์ภาควิชามนุษย์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
-อ.อรุณ บุญชม ประธานคณะกรรมการกลางอิสลามประจำกรุงเทพมหานคร
1420 - 1435 พักรับประทานอาหารว่าง
1435 - 1505
HAL-Q (Halal Quality Assurance system) โดย นายฮาบิลลาห์ จะปะกียา ที่ปรึกษาระบบ Hal-Q ศูนย์วิทยาศาสตร์ฮาลาล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สินค้าฮาลาลในตลาดโลก
ความสำคัญของความพึงพอใจของผู้บริโภค
แลกเปลี่ยนความคิดเห็นในด้านของการบริหารจัดการ อัตลักษณ์ ชื่อเสียง และความรับผิดชอบต่อสังคม
1505 - 1535 การฟัตวา โดย นักการศาสนา อาจารย์อรุณ บุญชม ผู้ทรงคุณวุฒิสำนักจุฬาราชมนตรี , สำนักงานคณะกรรมการกลางอิสลามแห่งประเทศไทย
การเสวนาเรื่อง การพัฒนาด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การแพทย์และโภชนาการฮาลาล ดำเนินรายการโดย รศ.ดร.สุชาติ เศรษฐมาลินี
- นพ.อนุสรณ์ ตานีพันธ์ นายกสมาคมแพทย์มุสลิมแห่งประเทศไทย
- นพ.อนันตชัย ไทยประทาน ประธานคณะกรรมการแพทย์และสาธารณสุขกุศล
- นพ.สุรสิทธิ์ ซอและห์ อิสสระชัย แพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านโรคมะเร็ง รพ.บำรุงราษฎร์
- นพ.อนุตรศักดิ์ รัชตะทัต ผช.ผอ.สำนักโรคติดต่อนำโดยแมลง
- นพ.กษิดิษ ศรีสง่า แพทย์ประจำโรงพยาบาลกรุงเทพ
1530 - 1545 พิธีมอบใบประกาศนียบัตร/สิ้นสุดกิจกรรม สรุปผลการบรรยาย/ พิธีมอบประกาศนียบัตรแก่ผู้เข้าร่วมโครงการ/สิ้นสุดกิจกรรม
1600 - 1700 พิธีมอบประกาศนียบัตรแก่ผู้เข้าร่วมโครงการ/สิ้นสุดกิจกรรม
1900 DINNER (แขกต่างประเทศและแขกผู้มีเกียรติ)
0800-0900 ลงทะเบียนผู้เข้าร่วมงาน
0900-0910 อัญเชิญพระมหาคัมภีร์อัลกุรอ่าน
0910-0920 พล.ต.ต.สุรินทร์ ปาลาเร่ เลขาธิการสำนักงานคณะกรรมการกลางอิสลามแห่งประเทศไทย กล่าวต้อนรับ
0920 0930 ประธานจัดงาน รศ.ดร.วินัย ดะห์ลัน ผู้ก่อตั้งและผู้อำนวยการศูนย์วิทยาศาสตร์ฮาลาล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กล่าวรายงาน
0930 0950
ประธานในพิธี ฯพณฯ อาศิส พิทักษ์คุมพล จุฬาราชมนตรี กล่าวเปิดงานและให้โอวาท
0950 1005 รับชมการแสดงขับร้อง อัน-นาชีด
1005 1020
-พิธีร่วมลงนาม MRA (Mutual Recognition Agreement) ระหว่างสถาบันมาตรฐานฮาลาลแห่งประเทศไทยกับองค์การมุสลิมโลก/องค์การมาตรฐานและมาตรวิทยาชาติอิสลามภายใต้ OIC (SMIIC)/องค์กรรับรองฮาลาล 20 ประเทศ
-พิธีร่วมลงนาม MOU กับสถาบันมาตรฐานฮาลาลแห่งประเทศไทย และศูนย์วิทยาศาสตร์ฮาลาล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ซึ่งเป็นผู้แทนหน่วยงาน ดังนี้ /มหาวิทยาลัยจากญี่ปุ่น/ธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย/มหาวิทยาลัย ราชภัฏสกลนคร, เกษตรศาสตร์ วิทยาเขตสกลนคร, มหาสารคาม มหาวิทยาลัยขอนแก่น/สมาคมเฟรนไชส์และไลเซนส์แห่งประเทศไทย และ Iamhalal.com
1005 1020 รับประทานอาหารว่าง
CBConvention
ห้องประชุมM 1-2 ชั้น 23
Halal Marketing Workshop
ห้องประชุมM 4 ชั้น 23
เสวนาวิชาการ
ห้องประชุมเวทีกลาง ชั้น 22
1020 - 1045
การพัฒนามาตรฐานฮาลาลของประเทศไทยโดย รศ.ดร.ปกรณ์ ปรียากร ผู้อำนวยการสถาบันมาตราฐาน ฮาลาลแห่งประเทศไทย
Dr.Jonathan A.J. (Bilal) Wilson ผู้เชี่ยวชาญด้านการสร้าง แบรนด์และการตลาดอิสลาม, อาจารย์อาวุโสและผู้นำหลักสูตรในการโฆษณาสร้าง แบรนด์และการสื่อสารการตลาด จากมหาวิทยาลัย Greenwich, London ประเทศอังกฤษ
บรรยายในหัวข้อเรื่อง
ทำไมต้องฮาลาล ?
การตระหนักรู้ในตราสินค้า
การพัฒนาตราสินค้า
แนวทางการสร้างตราสินค้าให้เป็นที่จดจำ
ผลิตภัณฑ์ฮาลาลกับโลกมุสลิมในปัจจุบัน
การขยายตัวของอุตสาหกรรมฮาลาลในรูปแบบใหม่
เรื่องน่ารู้สำหรับอุตสาหกรรมอาหาร, การรับรองฮาลาล, การส่งออกและนำเข้า
ความแตกต่างระหว่างความเป็นอิสลาม, มุสลิม, ฮาลาล และตรา ฮาลาล
การเสวนาในหัวข้อ
หลักสูตรอิสลามศึกษาเพื่อบูรณาการด้านวิทยาศาสตร์ฮาลาล ดำเนินรายการโดย อาจารย์สุชาติ สุวรรณดี
ผู้ร่วมเสวนาโดย
- ดร.บรรจง ไวทยเมธา
รองผู้อำนวยการศูนย์วิทยาศาสตร์ ฮาลาลจุฬาลงกรณ์
- ผศ.ดร.วุฒิศักด์ พิศสุวรรณ ผู้บริหารโรงเรียนประทีปศาสน์อิสมาอีลอนุสรณ์
- ดร.วิสุทธิ บินล่าเต๊ะ ผู้อำนวยการสำนักจุฬาราชมนตรี
- อ. อับดุลฮากีม วันแอเลาะ นักวิชาการอิสลาม
- ดร.อณัส อมาตยกุล อาจารย์ภาควิชามนุษย์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
- ดร.สุกรี หลังปูเต๊ะ คณบดีคณะศิลปะศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา
1045 - 1100
ผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรและมาตรฐานอาหารฮาลาลของประเทศไทย โดย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
1100 - 1200
มาตรฐานฮาลาลประเทศไทย โดย รศ.ดร.ปกรณ์ ปรียากร ผู้อำนวยการสถาบันมาตราฐาน ฮาลาลแห่งประเทศไทย
THS1435-1-2557: ขั้นตอนการขอเครื่องหมายฮาลาล
THS1435-2-2557: ขั้นตอนการเชือดให้ถูกต้องตามหลักศาสนบัญญัติ
THS1435-3-2557: คู่มือการขอการรับรองฮาลาล
THS1435-4-2557: ขั้นตอนการตรวจประเมินฮาลาล
THS1435-5-2557: ขั้นตอนการรับรองสินค้า
1200 - 1230 มาตรฐานฮาลาลไทยสำหรับโรงเชือดสัตว์ โดย กรมปศุสัตว์
1230 - 1330
พักรับประทานอาหารกลางวันและละหมาดดุหฺริ
ภาคบ่าย
CBConvention
ห้องประชุมM 1-2 ชั้น 23 Halal Marketing Workshop
ห้องประชุมM 4 ชั้น 23 เสวนาวิชาการ
ห้องประชุมเวทีกลาง ชั้น 22
1330 - 1420
ผู้บริหาร/ SMIIC Halal Standards by, Standards & Metrology Institute of Islamic Countries (SMIIC)
มาตรฐานฮาลาลสำหรับผู้ผลิต
มาตรฐานฮาลาลสำหรับหน่วยงานรับรอง
มาตรฐานฮาลาลสำหรับการได้รับการรับรอง
ช่วงถาม-ตอบ
การทำ Brandstorming, Storytelling และ Straplining
Consumer-based valuations and pricing
การจัดประชุมสัมมนาเรื่อง สถาบันการเงินฮาลาลในอิสลาม ดำเนินรายการโดย ดร.ทศพร มะหะหมัด อาจารย์ประจำศูนย์อิสลามศึกษา ผู้ร่วมเสวนาโดย
-กรรมการผู้จัดการธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย
- นายมนตรี มุขตารี สหกรณ์อิสลามสันติชน
- ดร.อณัส อมาตยกุล อาจารย์ภาควิชามนุษย์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
-อ.อรุณ บุญชม ประธานคณะกรรมการกลางอิสลามประจำกรุงเทพมหานคร
1420 - 1435 พักรับประทานอาหารว่าง
1435 - 1505
HAL-Q (Halal Quality Assurance system) โดย นายฮาบิลลาห์ จะปะกียา ที่ปรึกษาระบบ Hal-Q ศูนย์วิทยาศาสตร์ฮาลาล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สินค้าฮาลาลในตลาดโลก
ความสำคัญของความพึงพอใจของผู้บริโภค
แลกเปลี่ยนความคิดเห็นในด้านของการบริหารจัดการ อัตลักษณ์ ชื่อเสียง และความรับผิดชอบต่อสังคม
1505 - 1535 การฟัตวา โดย นักการศาสนา อาจารย์อรุณ บุญชม ผู้ทรงคุณวุฒิสำนักจุฬาราชมนตรี , สำนักงานคณะกรรมการกลางอิสลามแห่งประเทศไทย
การเสวนาเรื่อง การพัฒนาด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การแพทย์และโภชนาการฮาลาล ดำเนินรายการโดย รศ.ดร.สุชาติ เศรษฐมาลินี
- นพ.อนุสรณ์ ตานีพันธ์ นายกสมาคมแพทย์มุสลิมแห่งประเทศไทย
- นพ.อนันตชัย ไทยประทาน ประธานคณะกรรมการแพทย์และสาธารณสุขกุศล
- นพ.สุรสิทธิ์ ซอและห์ อิสสระชัย แพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านโรคมะเร็ง รพ.บำรุงราษฎร์
- นพ.อนุตรศักดิ์ รัชตะทัต ผช.ผอ.สำนักโรคติดต่อนำโดยแมลง
- นพ.กษิดิษ ศรีสง่า แพทย์ประจำโรงพยาบาลกรุงเทพ
1530 - 1545 พิธีมอบใบประกาศนียบัตร/สิ้นสุดกิจกรรม สรุปผลการบรรยาย/ พิธีมอบประกาศนียบัตรแก่ผู้เข้าร่วมโครงการ/สิ้นสุดกิจกรรม
1600 - 1700 พิธีมอบประกาศนียบัตรแก่ผู้เข้าร่วมโครงการ/สิ้นสุดกิจกรรม
1900 DINNER (แขกต่างประเทศและแขกผู้มีเกียรติ)
วันอังคารที่ 30 ธันวาคม 2557
คอนเวนชั่นฮอลล์ ชั้น 22, บางกอกคอนเวนชั่นเซ็นเตอร์, เซ็นทรัลเวิลด์, กรุงเทพมหานคร
ภาคเช้า
0800 - 0900 ลงทะเบียนผู้เข้าร่วมงาน
การประชุมวิชาการ ภาคภาษาไทย
ห้องประชุม เวทีกลาง ชั้น 22 การประชุมวิชาการ ภาคภาษาอังกฤษ
ห้องประชุมLotus 5-7 ชั้น 22
0900 - 1040 การเสวนาวิชาการ หัวข้อ ฮาลาลประเทศไทย ฮาลาลเพชร กับการแข่งขันในตลาดเศรษฐกิจฮาลาลโลก
ดำเนินรายการโดย ดร.ทศพร มะหะหมัด
ผู้ร่วมเสวนาโดย
-รศ.ดร.อิสมาแอ อาลี รองประธานกรรมการกลางอิสลามแห่งประเทศไทย
-รศ.ดร.ปกรณ์ ปรียากร ผอ.สถาบันมาตรฐานฮาลาลแห่งประเทศไทย
-นางสาวอรรชกา สีบุญเรือง ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม
-ผู้แทนกระทรวงพาณิชย์
ช่วงที่ 4 หัวข้อ การนำวิทยาศาสตร์มาประยุกต์ใช้ในเชิงฮาลาล นำโดย:
ผู้ร่วมนำเสนอ
-Dr.Jawad Alzeer, Senior Scientist, Department of Chemistry ประเทศวิตเซอร์แลนด์
-Dr. Zenaida Laidan, คณบดี ภาควิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาการพัฒนาฮาลาล ประเทศฟิลิปินส์
-นางสาวเกษิณี เกตุเลขา เจ้าหน้าที่บริการวิทยาศาสตร์ (งานวิจัย) วิทยาศาสตร์ฮาลาล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
-Prof.Muhammad Iqbal Bhanger, อธิการบดีมหาวิทยาลัย HEC ประเทศปากีสถาน
ช่วงถาม-ตอบ และถ่ายภาพหมู่ร่วมกัน
1040 - 1100 พักรับประทานอาหารว่าง/รับฟังการขับร้อง อันนาชีด
1100 - 1230 การสัมมนาใน หัวข้อ การปรับปรุงกฎหมาย ฮาลาลและการคุ้มครองผู้บริโภค ดำเนินรายการโดย
ดร.บรรจง ไวทยเมธา รองผู้อำนวยการศูนย์วิทยาศาสตร์ฮาลาล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ผู้ร่วมเสวนาโดย
-ดร.วรวิทย์ บารู สมาชิกวุฒิสภา ประจำจังหวัดปัตตานี
-นายไพโรจน์ มินเด็น ตุลาการศาลปกครอง
-มูลนิธิศูนย์ทนายความมุสลิม
-นายคัมภีร์ ดิษฐากรณ์ ผู้เชี่ยวชาญสมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติ
ช่วงที่ 5 หัวข้อ การท่องเที่ยวและบริการฮาลาล / ท่องเที่ยวฮาลาลเชิงการแพทย์
นำโดย:
ผู้ร่วมนำเสนอ
-Fazal Baharuddin, Crescent Tourism, ประเทศสิงคโปร์
-Hani Lashin, ผู้จัดการโรงแรม Al-Jawahra สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์
-นางสาวอังสนา อายุเคน เจ้าหน้าที่บริการวิทยาศาสตร์ ศูนย์วิทยาศาสตร์ฮาลาล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
-Rushdi Siddiqui, Head Islamic Economy&Senior Partner, Dinar Standard
-Dr.Arata Mariko Associate Professor, Graduate School of Innovation Management, Tokyo Institute of Technology ประเทศญี่ปุ่น
ช่วงถาม-ตอบและถ่ายภาพหมู่ร่วมกัน
1230 - 1330 พักรับประทานอาหารกลางวันละหมาดดุหฺริ
ภาคบ่าย
การประชุมวิชาการ ภาคภาษาไทย การประชุมวิชาการ ภาคภาษาอังกฤษ
ห้องประชุมLotus 5-7 ชั้น 22
ห้องประชุม Lotus 1-4 ชั้น 22
ห้องประชุมเวทีกลาง ชั้น 22
1330 - 1515 การจัดประชุมสัมมนาร่วมกับหนังสือพิมพ์ฐานเศรษฐกิจและธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย เรื่อง ไทยกับการเป็นศูนย์กลางธุรกิจฮาลาล
โดยวิทยากรจาก
-สภาหอการค้า
-สภาอุตสาหกรรม
-ธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย
การสัมมนาในหัวข้อ การมาตรฐานฮาลาลของประเทศไทยและ OIC / SMIIC (The Standards and Metrology Institute for Islamic Countries) ดำเนินรายการโดย นายคัมภีร์ ดิษฐากรณ์ ผู้เชี่ยวชาญสมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติ
- รศ.ดร.ปกรณ์ ปรียากร ผู้อำนวยการสถาบันมาตรฐาน ฮาลาลแห่งประเทศไทย
-ผศ.ประยูร เชี่ยววัฒนาผู้อำนวยการสถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ
ช่วงที่ 6 หัวข้อ เนื้อและสัตว์ปีกฮาลาล / ส่วนประกอบอาหารที่ฮาลาล
นำโดย: Dr. Mehdi Fakheri, ผู้อำนวยการแห่ง Islamic Countries Research & Information Center (ICRIC), ประเทศอิหร่าน
ผู้ร่วมนำเสนอ
-Dr.Justice Khalil-Ur-Rehman Khan, Punjab Halal Development Agency (PHDA), ประทศปากีสถาน
-นางสาวนัจวา สันติวรกุล เจ้าหน้าที่บริการวิทยาศาสตร์ (วิจัย) ศูนย์วิทยาศาสตร์ฮาลาล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
-Prof.Dr. Faqir Muhammad Anjum, Director of Home and Food Sciences Government College University, Faisalabad ประเทศปากีสถาน
-Dr. Hani Mazeedi, นักวิทยาศาสตร์อาวุโส , Kuwait Institute of Scientific Research (KISR)
-Moulana Saeed Navlakhi, Theological Director, South Africa National Halal Authority
-Jasim U.Ahmed, Managing Director,Halal Bangladesh Services Ltd. ประเทศบังคลาเทศ
ช่วงการถาม-ตอบ และถ่ายภาพหมู่ร่วมกัน
1515 - 1530 พักรับประทานอาหารว่าง
1530 - 1640
ช่วงที่ 7 เครื่องสำอางค์และเวชภัณฑ์ฮาลาล นำโดย : Mr. Saif Al-Midfa, CEO, Sharjah Chamber of Commerce and Industry
การนำเสนอโดย
-นางสาวนัสรินทร์ พละมี เจ้าหน้าที่บริการวิทยาศาสตร์ (วิจัย) ศูนย์วิทยาศาสตร์ฮาลาล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
-Dr. Shabana Khan , ECron ACUNOVA, ประเทศอินเดีย
-R J Liow, CEO & Founder, AYS Sdn. Bhd.
-Mufti Muhammad Zeeshan, Shariah Advisor, Gulf Halal Centre
ช่วงการถาม-ตอบจาก และการถ่ายภาพหมู่ร่วมกัน
1640 - 1750
ช่วงที่ 8 อภิปรายโดยผู้เชี่ยวชาญ นำโดย : ศูนย์วิทยาศาสตร์ฮาลาล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
อภิปรายโดย
- JAKIM; MUI; SMIIC; IIHA; GSO; ศูนย์วิทยาศาสตร์ฮาลาล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย; ทิศทางของประเทศไทย
ช่วงการถาม-ตอบ จากผู้เข้าร่วม
1750 - 1800 พิธีปิดงาน Thailand Halal Assembly 2014 รับชมรำไทยสี่ภาค
1800 - 1815 ประธานจัดงาน รศ.ดร.วินัย ดะห์ลัน กล่าวรายงานการจัดงานโดยสรุป
1815 - 1830 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กล่าวปิดงานและมอบของที่ระลึก
1830 - 1840 ประธานจัดงานมอบของที่ระลึกแด่ท่านประธานในพิธี
1840 - 1900 ประธานในพิธีชมนิทรรศการ เยี่ยมชมกิจกรรมต่างๆในบริเวณงาน และเดินทางกลับ
06 ม.ค 2558 3984 ครั้ง